บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6
ประจำวัน อังคาร ที่ 12 เดือน กันยายน พ.ศ.2560
ความรู้ที่ได้รับ
แนวคิดพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
➼การเปลี่ยนแปลง ( Change ) = ทุกสิ่งย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ไม่มีอะไรแน่นอน
➼ความแตกต่าง ( Variety ) = กิ่งไม้กิ่งเดียวกันแต่ใบแต่ละใบมีความแตกต่างกัน
➼การปรับตัว ( Adjusment ) = การปรับเปลี่ยนเพื่อความอยู่รอด
➼การพึ่งพาอาศัยกัน ( Muturity ) = ควายกับนกเอี้ยง ต้นไม้กับกาฝาก ฉลามกับเหาฉลาม
➼ความสมดุลย์ ( Equilibrium )
องค์ประกอบของวิทยาศาสตร์
| ||||||
| ||||||
| ||||||
ความรู้ ( เนื้อหา )
· เป็นความรู้ของธรรมชาติ
· ได้จากกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
· ผ่านการทดสอบว่าเป็นจริง = ทฤษฎี
· ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มี 5 ประเภท
( 1 ) ข้อเท็จจริง ( Fact ) เช่น น้ำไหลจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ
( 2 ) มโนมติหรือความคิดรวบยอด ( Concept ) เช่น แมวเป็นสัตว์สี่ขา มีหนวด เลี้ยงลูกด้วยนม ซึ่งความคิดรวบยอดถือเป็นเกณฑ์การวิเคราะห์ในการจัดกลุ่ม
( 3 ) หลักการ ( Principle ) เช่น ก๊าซจะขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน
( 4 ) กฎ ( Law ) เช่น น้ำเมื่อเย็นลงจะเป็นน้ำแข็ง ปริมาตรของมันจะมากขึ้น
( 5 ) ทฤษฎี ( Theory ) คือ สิ่งที่ได้รับการยอมรับและมีความน่าเชื่อถือ
วิธีการหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
- การสังเกต ( Observation )
- การตั้งปัญหา ( State Problem )
- การตั้งสมมติฐาน ( Make a Hypothesis )
- การทดสอบสมมติฐาน ( Testing Hypothesis )
- สรุป ( Conclution )
เจตคติทางวิทยาศาสตร์
- นักวิทยาศาสตร์ : ยึดมั่นในอิสระและเสรีภาพแห่งความคิด เคารพความจริงและข้อเท็จจริง
( 1 ) ความอยากรู้อยากเห็น
( 2 ) ความเพียรพยายาม
( 3 ) ความมีเหตุผล
( 4 ) ความซื่อสัตย์
( 5 ) ความมีระเบียบและรอบคอบ
( 6 ) ความใจกว้าง
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
· ทักษะพื้นฐาน
- การสังเกต
- การวัด
- การคำนวณ
- การจำแนกประเภท
- การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปซกับสเปซและสเปซกับเวลา
- การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล
- การลงความคิดเห็นจากข้อมูล
- การพยากรณ์
· ทักษะขั้นผสมหรือบูรณาการ
- - การตั้งสมมติฐาน
- - การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
- การกำหนดและควบคุมตัวแปร
- การทดลอง
- การตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
คำศัพท์น่ารู้
การเปลี่ยนแปลง Change
ความแตกต่าง Variety
การปรับตัว Adjusment
การพึ่งพาอาศัยกัน Muturity
ความสมดุลย์ Equilibrium
ข้อเท็จจริง Fact
ความคิดรวบยอด Concept
หลักการ Principle
กฎ Law
ทฤษฎี Theory
การสังเกต Observation
การตั้งปัญหา State Problem
การตั้งสมมติฐาน Make a Hypothesis
การทดสอบสมมติฐาน Testing Hypothesis
สรุป Conclution
การนำไปประยุกต์ใช้
การบูรณาการวิทยาศาสตร์กับการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็กปฐมวัยสามารถทำได้หลากหลายวิธีการ เช่น ให้เด็กเรียนรู้จากการทดลอง การสังเกต เป็นต้น โดยเด็กจะได้ใชประสาทสัมผัสทั้ง5 ในการเรียนรู้เรื่องต่างๆผ่านทักษะทางวิทยาศาสตร์
การประเมินผล
ตนเอง : ในวันนี้มีการจดบันทึกความรู้ มีการตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นร่วมกับอาจารย์และเพื่อนในชั้นเรียน
เพื่อน : มีการสนทนา แสดงความคิดเห็นร่วมกันในห้อง บางคนนั่งฟังเฉยๆ บางคนนั่งคุยบ้าง บางคนมีการจดบันทึกความรู้ระหว่างอาจารย์สอน
อาจารย์ : มีการกระตุ้นการเรียนโดยการใช้คำถามให้นักศึกษาร่วมกันคิดวิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น